เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนนี้ไม่ปรากฏผู้แต่งแน่ชัด แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ใช้ในการเล่าเรื่องราวเพื่อขับเสภา เรื่องนี้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น และยังให้ข้อคิดที่มีคุณค่า เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ในการศึกษาสภาพสังคมและวัฒนธรรมในวรรณคดีเรื่องนี้มีความสำคัญตรงที่จะช่วยให้นักเรียนได้ตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น วรรณคดีไม่เพียงแต่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ แต่ยังมีคุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม นอกจากนี้นักเรียนยังได้รับความรู้เกี่ยวกับสภาพสังคมวัฒนธรรมในสมัยอดีตอีกด้วย ซึ่งรายละเอียดบางอย่างอาจไม่มีบันทึกไว้ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างชัดเจน แต่ผู้ประพันธ์ก็ได้สะท้อนและบันทึกไว้ในวรรณคดีอีกทางหนึ่ง
ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีเรื่องนี้นักเรียนสามารถศึกษาได้จากการพิจารณาพฤติกรรมและบทบาทของตัวละครว่าให้ข้อคิดหรือให้คติสอนใจในด้านใดหรือเรื่องไหนแก่นักเรียน (ซึ่งเป็นผู้อ่าน) ตัวละครนั้นเป็นแบบอย่างหรือให้อุทาหรณ์เรื่องใดแก่นักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้จากการวิเคราะห์สาระสำคัญของเรื่องว่า กวีต้องการสื่อความคิดหรือคติสำคัญข้อใดแก่ผู้อ่านไปด้วย
ภาระงานนักเรียนระดับชั้น ม.๖ ที่เรียนภาษาไทยกับครูปิยะฤกษ์ : ให้นักเรียนสรุปคุณค่าและข้อคิดจากเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา โดยอภิปรายผลที่ตนเองได้รับจากการศึกษาเรียนรู้มาพอสังเขป (แสดงความคิดเห็นที่เรื่องนี้ได้เลยครับ)
Posted on สิงหาคม 12, 2014, in ความรู้คู่ปัญญา, เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน and tagged ขุนช้างถวายฎีกา, เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. Bookmark the permalink. 335 ความเห็น.
1. เรื่องนี้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
2.มีข้อคิดที่มีคุณค่า เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3.ทำให้เราตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น
4.ได้ความรู้เกี่ยวกับสภาพสังคมวัฒนธรรมในสมัยอดีต
5.ในอดีดผู้ชายมีการถวายตัวเพื่อเข้ารับราชการ
🙂
ตอนขุนช้างถวายฎีกา โดยการวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดเรื่องแล้วสรุปคุณค่าและข้อคิดได้ดังนี้
1. เรื่องนี้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
2.มีข้อคิดที่มีคุณค่า เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3.ทำให้เราตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น
4.ได้ความรู้เกี่ยวกับสภาพสังคมวัฒนธรรมในสมัยอดีต
5.ในอดีดผู้ชายมีการถวายตัวเพื่อเข้ารับราชการ
🙂
เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา โดยการวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดเรื่องแล้วสรุปคุณค่าและข้อคิดได้ดังนี้
1.สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
2.มีข้อคิดที่มีคุณค่า เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3.ทำให้เราตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น
4.ได้ความรู้เกี่ยวกับสภาพสังคมวัฒนธรรมในสมัยอดีต
5.ในอดีดผู้ชายมีการถวายตัวเพื่อเข้ารับราชการ
6.มีข้อคิดในหลายๆด้าน เช่นค้านสังคม คือความเป็นอยู่ของคนในอดีต
7.ได้รู้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม ประเพณี
🙂
คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน
ตอนขุนช้างถวายฎีกา ได้แก่
-ทำให้รู้ว่าคนที่เป็นแม่ สามารถทำทุกอย่างได้เพื่อลูก
-เมื่อทำการสิ่งใดควรคำนึงถึงผลที่ตามมา ควรพิจารณาให้รอบคอบ
-บ้านเมืองมีกฎหมาย ควรทำตาม ไม่ใช่ทำตามใจตัวเอง
-เมื่อเรามียศมีชื่อเสียง เราก็ต้องเกรงใจผู้อื่น ไม่ใช่คิดว่าตนใหญ่
เลยทำอะไรตามอำเภอใจของตน
-ทำให้นึกถึงข้อคิดที่ว่า ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์
🙂
ศึกษาเรื่องนี้แล้วทำให้มีความเห็นว่าชีวิตของเรานั้นมันไม่แน่นอนเสมอไปเลย และยังได้รู้ถึงเสภาขุนช้างขุนแผนยิ่งมากขึ้น
อย่างเช่น ได้รู้จักผู้แต่งกลอน ในเรื่องราวขับเสภาสะท้อนให้เห็นภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีข้อคิดและมีการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ด้วยจ้า ^^
🙂
ได้รู้จักตัวละคร ในเรื่องขุนช้างขุนแผนมากขึ้นครับ
🙂
ข้อคิดที่ได้จากเรื่องนี้ คือ
1.ความรักที่แม่มีต่อลูก แม่ยอมที่จะเสียสละเพื่อลูก
2.การเคารพกฎหมายของบ้านเมือง
3.สะท้อนวิถีการดำเนินชีวิตของคนสมัยก่อน
4.ขุนนางในสมัยนั้นมีความจงรักภักดีต่อกษัตริย์ ค่ะ
🙂
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ตอนนี้ไม่ปรากฏผู้แต่งแน่ชัด แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ใช้ในการเล่าเรื่องราวเพื่อขับเสภา เรื่องนี้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น และยังให้ข้อคิดที่มีคุณค่า เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
1. เรื่องนี้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
2.มีข้อคิดที่มีคุณค่า เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
3.ทำให้เราตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น
4.ได้ความรู้เกี่ยวกับสภาพสังคมวัฒนธรรมในสมัยอดีต ครับ
🙂
จากที่ได้อ่านนะค่ะ
สิ่งไหนที่ได้มาโดยไม่ชอบธรรมย้อมทำให้เราไม่มีความสุข
🙂
จากการศึกษาเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน จะเห็นว่าเป็นวรรณคดีที่มีคุณค่าในตัวเอง ทั้งยังให้คุณค่าในฐานะภาพจำลองของสังคมการเมือง และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกความรู้แฝงไว้ในเนื้อเรื่องให้เราได้เรียนรู้ไปพร้อมๆกันกับความสนุกสนานที่ได้รับจากการดำเนินเรื่อง เช่น
– แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยา แม้ว่าไม่อาจจะประเมินข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์
– ค่านิยมความเชื่อเรื่องบาปกรรม เชื่อว่าความทุกข์ยาก เดือดร้อนด้วยเหตุต่างๆ นั้น เป็นผลมาจากกรรมเก่าที่ทำไว้
– ค่านิยมความเชื่อในจารีตประเพณี ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่น หญิงต้องมีสามีคนเดียว หญิงที่มีสามีหลายคนหรือมีสามีแล้วไปเป็นชู้กับชายอื่น ก็จะถูกตราหน้าว่า เป็นหญิงแพศยาหรือกาลกิณี ไม่มีความเจริญ ค่ะ
🙂
จากการศึกษาเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน จะเห็นว่าเป็นวรรณคดีที่มีคุณค่าในตัวเอง ทั้งยังให้คุณค่าในฐานะภาพจำลองของสังคมการเมือง และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกความรู้แฝงไว้ในเนื้อเรื่องให้เราได้เรียนรู้ไปพร้อมๆกันกับความสนุกสนานที่ได้รับจากการดำเนินเรื่อง เช่น
– แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยา แม้ว่าไม่อาจจะประเมินข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์
– ค่านิยมความเชื่อเรื่องบาปกรรม เชื่อว่าความทุกข์ยาก เดือดร้อนด้วยเหตุต่างๆ นั้น เป็นผลมาจากกรรมเก่าที่ทำไว้
– ค่านิยมความเชื่อในจารีตประเพณี ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา เช่น หญิงต้องมีสามีคนเดียว หญิงที่มีสามีหลายคนหรือมีสามีแล้วไปเป็นชู้กับชายอื่น ก็จะถูกตราหน้าว่า เป็นหญิงแพศยาหรือกาลกิณี ไม่มีความเจริญ ค่ะ
🙂
คุณค่าเรื่องนี้ได้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น วรรณคดีไม่เพียงแต่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ แต่ยังมีคุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม
ข้อคิด ได้เห็นความรักความผูกผันของลูกที่มีต่อแม่และแม่ที่มีต่อลูกค่ะ
🙂
คุณค่าเรื่องนี้ได้สะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ตระหนักถึงคุณค่าของวรรณคดีมากยิ่งขึ้น วรรณคดีไม่เพียงแต่มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ แต่ยังมีคุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม
ข้อคิด ได้เห็นความรักความผูกผันของลูกที่มีต่อแม่และแม่ที่มีต่อลูกค่ะ
🙂
เนื้อหาดีมากครับ
🙂
ได้ความรู็มากค่ะ ได้เอามาปรับไช้ในชีวิตจิงด้วย ได้รู้จักคุณค่ามากมายและยังสะท้อนถึงวิถีชีวิตของคนในสมัยก่อนด้วย
🙂
ได้ความรู้เกี่ยวกับเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน
อย่างเช่น คุนค่าของสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น 1สมัยก่อนจะใช้สมุนไพรรักษาแผล
🙂
จากการที่อ่านมาแล้ว เสภาขุนช้างขุนแผน สะท้อนค่านิยมของคนในสังคม เสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน สะท้อน ค่านิยมของสังคม ไทยหลายประการ เช่น
ค่านิยมเกี่ยวกับการมีสัมมาคารวะ พลายงามรู้จัก แสดงความเคารพ นบน้อมมีสัมมาคารวะ แม้จะอยู่ใน สถานการณ์ที่ทำให้ ขุ่นเคืองใจ แต่เมื่อมา เห็นมารดาก็ยังระลึกถึง พระคุณเข้า ไปกราบไหว้
🙂
จากการอ่านบทความข้าพเจ้าคิดว่า สังคมไทยไม่นิยมสตรีเยี่ยงนางวันทอง คือมีสามีสองคน ในเวลาเดียวกัน แม้โดยแท้จริงแล้วการที่มีสามีสองคนนั้นมิใช่เกิดจากความปรารถนาของนางเอง แต่จุกนี้สังคมกลับมองข้าม เห็นแต่เพียงผิวเผินว่านางน่ารังเกียจ
ในทางตรงกันข้าม ค่านิยมเกี่ยวกับการมีภรรยาหลายคนในเวลาเดียวกัน กลับปรากฎในหมู่คนชั้นสูง โดยฌฉพาะ ผู้มียศฐาบรรดาศักดิ์ของไทย แต่สังคมไม่รังเกียจ กลับนิยมยกย่อง เพราะค่านิยมกำหนดว่าลักษระเช่นนี้เป็นเครื่องเสริมบารมีและความเป็นบุรุษอาชาไนยให้มากยิ่งขึ้นค่ะ
🙂
จากที่ได้อ่านเสภาเรื่องขขุนช้างขุนแผนแล้ว ทำให้ทราบว่า การที่ถึงเราจะได้ในสิ่งที่เราปรารถนา ซึ่งได้มาด้วยความไม่ถูกต้อง ก็ไม่มีความสุขอยู่ดี ครับ
🙂
คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน
ตอนขุนช้างถวายฎีกา ได้แก่
-ทำให้รู้ว่าคนที่เป็นแม่ สามารถทำทุกอย่างได้เพื่อลูก
-เมื่อทำการสิ่งใดควรคำนึงถึงผลที่ตามมา ควรพิจารณาให้รอบคอบ
-บ้านเมืองมีกฎหมาย ควรทำตาม ไม่ใช่ทำตามใจตัวเอง
-เมื่อเรามียศมีชื่อเสียง เราก็ต้องเกรงใจผู้อื่น ไม่ใช่คิดว่าตนใหญ่
เลยทำอะไรตามอำเภอใจของตน
-ทำให้นึกถึงข้อคิดที่ว่า ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์
🙂
จากที่ข้าพเจ้าได้อ่านเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา จึงวิเคราะห์ถึงคุณค่าที่ได้รับ ดังนี้
– ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการดำเนินชีวิของคนในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
– สะท้อนให้เห็นถึงบทบาทของผู้ปกครองดูแลบ้านเมือง
– ทำให้รู้ว่าค่านิยมของผู้หญิงสมัยก่อนว่าต้องมีสามีเพียงคนเดียว
– สะท้อนค่านิยมเกี่ยวกับความเชื่อของคนในสมัยก่อน
และข้อคิดที่ได้
– ได้ข้อคิดที่ว่า ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์
– ทำให้รู้ว่าความรักของคนเป็นแม่ว่ายิ่งใหญ่มากขนาดไหน
– ควรปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมือง
– จะทำอะไรก็ควรคิดไตร่ตรองถึงผลที่จะตามมาในภายหลัง
ค่ะ ^^
🙂